กรุณา "ไม่ปิดหน้านี้" จนกว่าจะทำรายการชำระเงินสำเร็จ
ในทุกๆ เซลล์บนร่างกายของเรา ตั้งแต่กล้ามเนื้อกระดูกไปจนถึงเส้นผม และขน ล้วนมีโปรตีนเป็นส่วนประกอบทั้งสิ้น
การรับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูงเป็นประจำ อาจทำให้ผู้ที่เป็นโรคไตอาการแย่ลงได้ เนื่องจากร่างกายไม่สามารถกำจัดโปรตีนที่ถูกย่อยสลายออกไปได้หมด
เรามีการใช้คุกกี้ รวมถึงนโยบายจัดการข้อมูลส่วนบุคคลเพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์ที่ดีบนบริการของ เว็บไซต์เรา คลิกที่นี่ เพื่อดูรายละเอียดเพิ่มเติม และคําแนะนําในการปรับค่าเกี่ยวกับคุกกี้ ยอมรับ
ลำดับของกรดอะมิโนจะเป็นตัวกำหนดโครงสร้างและการทำงานของโปรตีนนั้นๆ โดยทั่วไป โปรตีนมีโครงสร้างสามมิติสี่ระดับด้วยกันคือ
โปรตีนกับโรคกระดูกพรุน เนื่องจากในกระบวนการย่อยโปรตีนจะเกิดการปล่อยกรดออกสู่กระแสเลือด ซึ่งการจะทำให้กรดเหล่านี้เป็นกลางต้องอาศัยแคลเซียมและสารอื่น ๆ ทำให้อาจมีการดึงแคลเซียมจากกระดูกมาใช้ เป็นที่มาของความเชื่อที่ว่าการรับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูงเป็นเวลานานอาจทำให้ความหนาแน่นของมวลกระดูกลดลง ส่งผลให้กระดูกอ่อนแอและแตกหักง่าย
รู้สึกหิวบ่อย โปรตีนเป็นแหล่งพลังงานที่สำคัญของร่างกาย เมื่อขาดโปรตีนจะทำให้รู้สึกหิวบ่อยขึ้นเนื่องจากร่างกายมีพลังงานไม่เพียงพอ และอาจทำให้หันไปรับประทานอาหารที่มีพลังงานสูงจนเสี่ยงเกิดโรคอ้วนได้
โปรตีนเป็นสารอาหารหลักที่จำเป็นต่อร่างกาย เพื่อให้ระบบต่าง ๆ ภายในร่างกายทำงานได้อย่างถูกต้องตามหน้าที่ โปรตีนมีบทบาทสำคัญในการสร้างและซ่อมแซมเซลล์ เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน นมโปรตีน สร้างเอนไซม์และฮอร์โมน สร้างกล้ามเนื้อ และให้พลังงาน หากร่างกายได้รับโปรตีนไม่เพียงพอ ร่างกายอาจสูญเสียกล้ามเนื้อ ภูมิคุ้มกันอ่อนแอ และฟื้นตัวจากอาการบาดเจ็บได้ช้า
เช่นเดียวกับอีกงานวิจัยที่ศึกษาในเรื่องคล้ายคลึงกัน ผลลัพธ์ชี้ว่าการรับประทานเนื้อไก่ ถั่วเปลือกแข็ง ปลา นมพร่องมันเนย หรือแม้แต่นมที่มีไขมันเต็มส่วน ล้วนส่งผลให้มีอัตราการเกิดโรคหลอดเลือดในสมองลดต่ำลงเมื่อเทียบกับเนื้อแดงหรือเนื้อสัตว์ใหญ่ ด้วยผลการศึกษาที่มีออกมาในปัจจุบัน เนื้อหมู เนื้อวัว หรือเนื้อสัตว์ใหญ่ทั้งหลายจึงอาจไม่ใช่ตัวเลือกแหล่งอาหารโปรตีนที่ดีเท่าใดนัก จึงไม่ควรรับประทานบ่อยครั้งหรือมากไปนัก
ทั้งนี้ การเสริมปริมาณโปรตีนเพียงอย่างเดียวโดยไม่มีการออกกำลังกายนั้นไม่น่าจะมีส่วนช่วยส่งเสริมมวลกล้ามเนื้อและความแข็งแรงให้เพิ่มขึ้นได้ และหากต้องการรับประทานโปรตีนเสริมควรปรึกษาแพทย์ก่อนเสมอเพราะการได้รับโปรตีนมากเกินไปอาจส่งผลร้ายต่อร่างกายได้เช่นกัน
โดยกรดอะมิโนจะรวมตัวเข้ากับไนโตรเจนแล้วเกิดเป็นโปรตีนที่หลากหลายเป็นพันกว่าชนิด ไม่เพียงแต่เป็นหน่วยเล็ก ๆ ที่ประกอบกันจนเป็นโปรตีน
การกินโปรตีนต่อวัน ควรกินมากแค่ไหนถึงจะเพียงพอ?
สามารถเลือกได้ทั้งเพศ ส่วนสูง อายุ น้ำหนัก รวมถึงรูปแบบการทำกิจกรรมต่าง ๆ
เมื่อร่างกายมีโปรตีนสะสมมากเกินไป อาจเกิดภาวะต่างๆ ดังต่อไปนี้ได้